วันจันทร์ที่ 4 มีนาคม พ.ศ. 2556

Lessons from the Other Side of the Teacher’s Desk


Lessons from the Other Side of the Teacher’s Desk: Discovering Insights to Help Language Learners

In: English Teaching Forum 2011, Volume 49, Number 1 Format(s): Text 
An EFL instructor shares ideas on classroom practice after participating in an intensive language program. The author discusses L1 use in the classroom as well as the importance of pronunciation instruction. The article also includes tips on acquiring vocabulary and reasons why pair and group work are good. Finally, the author considers how to support students who may be experiencing communication anxiety as they learn a new language. The article emphasizes a communicative approach and the importance of a friendly classroom environment.

Helping Professionals Prepare Presentations in English for International Conferences


Helping Professionals Prepare Presentations in English for International Conferences

Helping Professionals Prepare Presentations in English for International Conferences   (Volume 41' Issue 1)


In: English Teaching Forum 2003, Volume 41, Number 1 Format(s): Text
  
This English teacher in Argentina describes how she helped a local doctor prepare for a presentation made in English at an international trade conference held in the United States. The article discusses how the author prepared to work with the specific topic, ophthalmology, the use of cognates in the specialized field, tips for helping the physician with his pronunciation, and the outcome of the presentation.

Identifying Our Approaches to Language Learning Technologies


Identifying Our Approaches to Language Learning Technologies

  Identifying Our Approaches to Language Learning Technologies : Improving Professional Development

In: English Teaching Forum 2011, Volume 49, Number 3 Format(s): Text
  
This article emphasizes Warschauer's Model, explaining the three positions that researchers working in the field of language technology are concerned about: determinist or technophobe and technophile, instrumental, and critical. The article discusses the importance and application of Warschauer’s Model to professional development, offering ideas for activities and lesson plans related to each position held.

Lesson Plan: Athletes, Actions, and Adjectives


Lesson Plan: Athletes, Actions, and Adjectives

In: English Teaching Forum 2010, Volume 48, Number 4 Format(s): Text
  
People who are very familiar with American football and those completely unfamiliar with it can benefit from the interactive, communicative activities presented in this lesson plan. Students can analyze examples from the NFL and create their own team names, team logos, and player descriptions. Ideas for teaching adjectives and body parts are also provided. In the spirit of the game, the plan features quick, lively group activities, all under 50 minutes each.

วันอาทิตย์ที่ 3 มีนาคม พ.ศ. 2556

Thinking Skills


Thinking Skills
   
 เบนจามิน บลูม ได้ให้ข้อสรุปของทักษะการคิดไว้ 6 ประการดังนี้
  1. Knowledge (ความรู้)
  2. Comprehension (ความเข้าใจ)
  3. Application (การประยุกต์ใช้)
  4. Analysis (การวิเคราะห์)
  5. Synthesis (การสังเคราะห์)
  6. Evaluation (การประเมินผล)
รูปแสดงทักษะการคิดของ บลูม
  Anderson & Krathwonl ได้เสนอแนวคิดทักษะการคิดฉบับแก้ไขของบลูม ไว้ดังนี้
  1. Remembering (การจำ)
  2. Understanding (ความเข้าใจ)
  3. Applying (การประยุกต์ใช้)
  4. Analyzing (การวิเคราะห์)
  5. Evaluating (การประเมินผล)
  6. Creating (การสร้างสรรค์)      

วันศุกร์ที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556

Multiple Intelligence


นักเรียนมีความแข็งแรงที่แตกต่างกัน พวกเขามีจุดแข็งเฉพาะตัวและเป็นจุดแข็งที่ไม่ซ้ำกัน ซึ่่งมักจะไม่นำมาพิจารณาในสถานการณ์ในห้องเรียน การ์ดเนอร์ ได้เสนอว่าปัญญาของมนุษย์มีอยู่อย่างน้อย 9 ด้าน ดังนี้
  • Verbal-Linguistic Intelligence (ปัญญาด้านภาษา) คือ ความสามารถในการใช้ภาษารูปแบบต่างๆ ตั้งแต่ภาษาพื้นเมือง จนถึงภาษาอื่นๆ ด้วย สามารถรับรู้ เข้าใจภาษา และสามารถสื่อภาษาให้ผู้อื่นเข้าใจได้ตามที่ต้องการ 
  • Mathematical-Logical Intelligence (ปัญญาด้านตรรกศาสตร์และคณิตศาสตร์) คือ ความสามารถในการคิดแบบมีเหตุและผล การคิดเชิงนามธรรม การคิดคาดการณ์ และการคิดคำนวณทางคณิตศาสตร์ 
  • Musical Intelligence (ปัญญาด้านดนตรี) คือ ความสามารถในการซึมซับ และเข้าถึงสุนทรียะทางดนตรี ทั้งการได้ยิน การรับรู้ การจดจำ และการแต่งเพลง สามารถจดจำจังหวะ ทำนอง และโครงสร้างทางดนตรีได้ดี และถ่ายทอดออกมาโดยการฮัมเพลง เคาะจังหวะ เล่นดนตรี และร้องเพลง
  • Visual-Spatial Intelligence (ปัญญาด้านมิติสัมพันธ์) คือ ความสามารถในการรับรู้ทางสายตาได้ดี สามารถมองเห็นพื้นที่ รูปทรง ระยะทาง และตำแหน่ง อย่างสัมพันธ์เชื่อมโยงกัน แล้วถ่ายทอดแสดงออกอย่างกลมกลืน มีความไวต่อการรับรู้ในเรื่องทิศทาง
  • Bodily-Kinesthetic Intelligence (ปัญญาด้านร่างกายและการเคลื่อนไหว) คือ ความสามารถในการควบคุมและแสดงออกซึ่งความคิด ความรู้สึก โดยใช้อวัยวะส่วนต่างๆ ของร่างกาย รวมถึงความสามารถในการใช้มือประดิษฐ์ ความคล่องแคล่ว ความแข็งแรง ความรวดเร็ว ความยืดหยุ่น ความประณีต และความไวทางประสาทสัมผัส
  • Interpersonal Intelligence (ปัญญาด้านมนุษยสัมพันธ์) คือ ความสามารถในการเข้าใจผู้อื่น ทั้งด้านความรู้สึกนึกคิด อารมณ์ และเจตนาที่ซ่อนเร้นอยู่ภายใน มีความไวในการสังเกต สีหน้า ท่าทาง น้ำเสียง สามารถตอบสนองได้อย่างเหมาะสม สร้างมิตรภาพได้ง่าย เจรจาต่อรอง ลดความขัดแย้ง สามารถจูงใจผู้อื่นได้ดี เป็นปัญญาด้านที่จำเป็นต้องมีอยู่ในทุกคน
  • Intrapersonal Intelligence (ปัญญาด้านการเข้าใจตนเอง) คือ ความสามารถในการรู้จัก ตระหนักรู้ในตนเอง สามารถเท่าทันตนเอง ควบคุมการแสดงออกอย่างเหมาะสมตามกาลเทศะ และสถานการณ์ รู้ว่าเมื่อไหร่ควรเผชิญหน้า เมื่อไหร่ควรหลีกเลี่ยง เมื่อไหร่ต้องขอความช่วยเหลือ มองภาพตนเองตามความเป็นจริง รู้ถึงจุดอ่อน หรือข้อบกพร่องของตนเอง ในขณะเดียวกันก็รู้ว่าตนมีจุดแข็ง หรือความสามารถในเรื่องใด มีความรู้เท่าทันอารมณ์ ความรู้สึก ความคิด ความคาดหวัง ความปรารถนา และตัวตนของตนเองอย่างแท้จริง
  • Naturalist Intelligence (ปัญญาด้านธรรมชาติวิทยา) คือ ความสามารถในการรู้จัก และเข้าใจธรรมชาติอย่างลึกซึ้ง เข้าใจกฎเกณฑ์ ปรากฏการณ์ และการรังสรรค์ต่างๆ ของธรรมชาติ มีความไวในการสังเกต เพื่อคาดการณ์ความเป็นไปของธรรมชาติ มีความสามารถในการจัดจำแนก แยกแยะประเภทของสิ่งมีชีวิต ทั้งพืชและสัตว์
  • Existential Intelligence (ปัญญาด้านอัตถภวนิยม จิตนิยมหรือการดำรงคงอยู่) คือ  ความไวและความสามารถในการจับประเด็นคำถามที่เกี่ยวกับการดำรงอยู่ของมนุษย์ เช่นความหมายของชีวิต ทำไมคนเราถึงตาย และเรามาอยู่ที่นี้ได้อย่างไร


การเรียนแบบร่วมมือ : Cooperative Learning

การเรียนแบบร่วมมือเป็นวิธี

ที่ผู้เรีการเรียนแบบร่วมมือเป็นวิธีที่ผู้เรียนทำการแก้ปัญหาร่วมกันเป็นกลุ่มเล็ก ๆ สมาชิกทุกคนในกลุ่มมีความสำคัญต่อความสำเร็จหรือความล้มเหลวของกลุ่ม เพื่อบรรลุเป้าหมายสมาชิกทุกคนจึงช่วยเหลือซึ่งกันและกันให้เกิดการเรียนรู้และแก้ปัญหาครูไม่ใช่เป็นแหล่งความรู้ที่คอยป้อนแก่นักเรียน แต่จะมีบทบาทเป็นผู้คอยให้ความช่วยเหลือจัดหาและชี้แนะแหล่งข้อมูลในการเรียน ตัวนักเรียนเองจะเป็นแหล่งความรู้ซึ่งกันและกันในกระบวนการเรียนรู้ยนทำการแก้ปัญหาร่วมกันเป็นกลุ่มเล็ก ๆ

      หลักการ
  1. ให้ผู้เรียนทำงานเป็นกลุ่ม
  2. ผู้เรียนต้องอยู่กลุ่มเดิมสักระยะหนึ่ง
  3. ความพยายามของแต่ละบุคคลในการช่วยเหลือไม่เพียงแต่ตัวบุคคลนั้นที่จะได้รับผลตอบแทน แต่บุคคลอื่น ๆ ในชั้นยังได้รับด้วย
  4. ต้องมีการสอนเรื่องทักษะทางสังคม
  5. การเรียนภาษาจะเกิดขึ้นเมื่อผู้เรียนใช้ภาษาเป้าหมาย
  6. ผู้เรียนต้องรับผิดชอบงานของตนเอง
  7. มีการแลกเปลี่ยนความรู้ภายในกลุ่ม
  8. สมาชิกทุกคนภายในกลุ่มจะถูกกระตุ้นให้มีความรับผิดชอบ และส่งเสริมภาวะการเป็นผู้นำ
  9. ครูไม่เพียงแต่จะสอนภาษา แต่ยังสอนเรื่องการทำงานร่วมกันด้วย